วันอังคารที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553

เกี่ยวกับคณะ บริหาร

คณะบริหารธุรกิจ

คณะ บริหารธุรกิจทำการสอนในระดับปริญญาตรี โดยหลักสูตร ปริญญาตรีใช้เวลา 4 ปี โดยมีเนื้อหาวิชา 5 สาขา แยกตามภาควิชาทั้ง 5 ภาควิชา ดังนี้

ภาควิชาการเงิน ให้การศึกษาในหลักสำคัญของวิชาทางการเงิน เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารเงิน และสามารถออกไปปฏิบัติงานได้ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยให้การศึกษาครอบคลุมถึงการวิเคราะห์การลงทุน สินเชื่อ และการเรียกเก็บเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์หลักทรัพย์ การวิเคราะห์สถาบันการเงิน การเงินระหว่างประเทศ การเงินในกิจกรรมที่ไม่แสวงหากำไร และการลดความเสี่ยงทางการเงินของอัตราแลกเปลี่ยน เป็นต้น

ภาควิชาการจัดการ ให้การศึกษาในหลักสำคัญของวิชาการจัดการซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการบริหาร ธุรกิจ เพื่อให้รองรับกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศที่มีแนวโน้มความต้องการบุคลากร ทางสาขาการจัดการ ทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพโดยให้การศึกษาวิชาพื้นฐานทางบริหารธุรกิจครอบคลุมถึงการจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการเชิงปริมาณ การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ การใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจ รวมทั้งการศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีผลต่อธุรกิจ เช่น ภาษีอากร กฎหมาย เป็นต้น

ภาควิชาการจัดการการผลิต ให้การศึกษาในหลักสูตรของวิชาทางการผลิต เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารระบบการผลิตของอุตสาหกรรม และธุรกิจต่างๆ โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการจัดการการผลิต การออกแบบระบบการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิต การจัดการงานวัสดุ การจัดการการขนส่ง การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว การจัดการธุรกิจโรงแรม และการตัดสินใจทางการจัดการการผลิต เป็นต้น

ภาควิชาการตลาด ให้การศึกษาในหลักสำคัญของวิชาการตลาด ซึ่งเป็นสาขาที่เน้นความสามารถในการบริหารการตลาด โดยให้ความสำคัญถึงความต้องการของคนและสนองตอบความต้องการเหล่านั้นบนพื้น ฐานของความพอใจ และบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค การพยากรณ์ยอดขาย การวิจัยตลาด การโฆษณา การส่งเสริมการขาย การตลาดระหว่างประเทศ นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา การตลาดสินค้าอุตสาหกรรม และการจัดซื้อ เป็นต้น

ภาควิชาบัญชี ให้การศึกษาวิชาการบัญชีเพื่อสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคม ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับปริญญาบัญชีบัณฑิต หรือ บช.บ. และผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทได้รับปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หรือ บธ.ม. บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สามารถออกไปประกอบวิชาชีพทางการบัญชีในตำแหน่งนักบัญชี หรือผู้สอบบัญชีทั้งในภาครัฐบาลและเอกชนผู้ตรวจสอบภายใน ผู้วางระบบบัญชี ที่ปรึกษาทางการบัญชี การเงินและภาษีอากร รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี

ระดับปริญญาตรี จำนวน 5 หลักสูตร

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการการผลิต
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

การศึกษา

คณะบริหารธุรกิจได้จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ซึ่งประกอบด้วยหมวดวิชาหลัก 3 หมวด ได้แก่

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ได้แก่ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา
และพลศึกษา เป็นต้น
2. หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะบังคับ และวิชาเฉพาะเลือก ได้แก่ วิชาบัญชี การตลาด
การจัดการ การเงินการจัดการการผลิต เป็นต้น
3. หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาเลือกอิสระที่นิสิตสามารถเลือกได้ตามความสนใจ นิสิตจะต้องเลือกเรียน
ให้ครบตามหลักสูตรปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต และ 138
หน่วยกิตในหลักสูตร บัญชีบัณฑิต

เกี่ยวกับคณะ บริหาร

คณะบริหารธุรกิจ

คณะ บริหารธุรกิจทำการสอนในระดับปริญญาตรี โดยหลักสูตร ปริญญาตรีใช้เวลา 4 ปี โดยมีเนื้อหาวิชา 5 สาขา แยกตามภาควิชาทั้ง 5 ภาควิชา ดังนี้

ภาควิชาการเงิน ให้การศึกษาในหลักสำคัญของวิชาทางการเงิน เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านการบริหารเงิน และสามารถออกไปปฏิบัติงานได้ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยให้การศึกษาครอบคลุมถึงการวิเคราะห์การลงทุน สินเชื่อ และการเรียกเก็บเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน การวิเคราะห์หลักทรัพย์ การวิเคราะห์สถาบันการเงิน การเงินระหว่างประเทศ การเงินในกิจกรรมที่ไม่แสวงหากำไร และการลดความเสี่ยงทางการเงินของอัตราแลกเปลี่ยน เป็นต้น

ภาควิชาการจัดการ ให้การศึกษาในหลักสำคัญของวิชาการจัดการซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการบริหาร ธุรกิจ เพื่อให้รองรับกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศที่มีแนวโน้มความต้องการบุคลากร ทางสาขาการจัดการ ทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพโดยให้การศึกษาวิชาพื้นฐานทางบริหารธุรกิจครอบคลุมถึงการจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการเชิงปริมาณ การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ การใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจ รวมทั้งการศึกษาสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่มีผลต่อธุรกิจ เช่น ภาษีอากร กฎหมาย เป็นต้น

ภาควิชาการจัดการการผลิต ให้การศึกษาในหลักสูตรของวิชาทางการผลิต เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารระบบการผลิตของอุตสาหกรรม และธุรกิจต่างๆ โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการจัดการการผลิต การออกแบบระบบการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิต การจัดการงานวัสดุ การจัดการการขนส่ง การจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว การจัดการธุรกิจโรงแรม และการตัดสินใจทางการจัดการการผลิต เป็นต้น

ภาควิชาการตลาด ให้การศึกษาในหลักสำคัญของวิชาการตลาด ซึ่งเป็นสาขาที่เน้นความสามารถในการบริหารการตลาด โดยให้ความสำคัญถึงความต้องการของคนและสนองตอบความต้องการเหล่านั้นบนพื้น ฐานของความพอใจ และบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค การพยากรณ์ยอดขาย การวิจัยตลาด การโฆษณา การส่งเสริมการขาย การตลาดระหว่างประเทศ นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา การตลาดสินค้าอุตสาหกรรม และการจัดซื้อ เป็นต้น

ภาควิชาบัญชี ให้การศึกษาวิชาการบัญชีเพื่อสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคม ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับปริญญาบัญชีบัณฑิต หรือ บช.บ. และผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทได้รับปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หรือ บธ.ม. บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา สามารถออกไปประกอบวิชาชีพทางการบัญชีในตำแหน่งนักบัญชี หรือผู้สอบบัญชีทั้งในภาครัฐบาลและเอกชนผู้ตรวจสอบภายใน ผู้วางระบบบัญชี ที่ปรึกษาทางการบัญชี การเงินและภาษีอากร รวมทั้งงานที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี

ระดับปริญญาตรี จำนวน 5 หลักสูตร

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการการผลิต
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต

การศึกษา

คณะบริหารธุรกิจได้จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ซึ่งประกอบด้วยหมวดวิชาหลัก 3 หมวด ได้แก่

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ได้แก่ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา
และพลศึกษา เป็นต้น
2. หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะบังคับ และวิชาเฉพาะเลือก ได้แก่ วิชาบัญชี การตลาด
การจัดการ การเงินการจัดการการผลิต เป็นต้น
3. หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาเลือกอิสระที่นิสิตสามารถเลือกได้ตามความสนใจ นิสิตจะต้องเลือกเรียน
ให้ครบตามหลักสูตรปริญญาตรี ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต ในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต และ 138
หน่วยกิตในหลักสูตร บัญชีบัณฑิต

สถาบันการศึกษาที่เปิดสอนด้านการโรงแรม / ท่องเที่ยว












สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ 14 แห่ง
1. มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ
2. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาตรี สาขาวิชาการท่องเที่ยว / คณะมนุษย์ศาสตร์
3. มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาควิชาสังคมศาสตร์ / คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
4. มหาวิทยาลัยบูรพา ภาควิชาบริหารธุรกิจ / คณะมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์
5. มหาวิทยาลัยมหิดล (วิทยาลัยนานาชาติ) สาขาบริหารธุรกิจ / คณะศิลปศาสตร์
6. มหาวิทยาลัยรามคำแหง ภาคอุตสาหกรรมบริการ เอกการโรงแรม / คณะบริหารธุรกิจ
7. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต สาขาการจัดการโรงแรม

คณะการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว
8. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ภาควิชาประวัติศาสตร์ / คณะสังคมศาสตร์
9. มหาวิทยาลัยศิลปากร ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ / คณะโบราณคดี
10. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช แขนงวิชาคหกรรมศาสตร์ธุรกิจ วิชาเอกการโรงแรม และภัตตาคาร / สาขาคหกรรมศาสตร์
11. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สาขาพัฒนาการท่องเที่ยว / คณะศิลปศาสตร์
12. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาศิลปาชีพ / คณะมนุษย์ศาสตร์
13. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการจัดการทางการท่องเที่ยว / สำนักวิชาการจัดการ
14. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สาขาธุรกิจบริการ / โครงการจัดตั้งคณะบริหารศาสตร์

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 13 แห่ง
1. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม / คณะมนุษย์ศาสตร์
2. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยว / คณะศิลปาศาสตร์
3. มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สาขาวิชาการท่องเที่ยว / คณะศิลปศาสตร์
4. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม / คณะมนุษยศาสตร์
5. มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการท่องเที่ยว / คณะอุตสาหกรรมการบริการ
6. มหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล สาขาการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยว / คณะบริการธุรกิจ
7. มหาวิทยาลัยศรีปทุม ภาควิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม / คณะศิลปศาสตร์
8. มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว / คณะศิลปศาสตร์
9. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว / คณะบริหารธุรกิจ
10. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สาขาวิชาการโรงแรม / คณะบริหารธุรกิจ
11. วิทยาลัยโยนก สาขาวิชาการท่องเที่ยว / คณะศิลปศาสตร์
12. มหาวิทยาลัยพายัพ ภาค วิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว ของมหาวิทยาลัยพายัพ ทั้งหลักสูตรไทย และหลักสูตรนานาชาติ สังกัดคณะบริหารธุรกิจ มอบปริญญา บธ.บ. (การจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว)
13. วิทยาลัยดุสิตธานี สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว / คณะบริหารธุรกิจ

สถาบันราชภัฎ 34 แห่ง
1. สถาบันราชภัฎเชียงราย โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
2. สถาบันราชภัฎเชียงใหม่ โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
3. สถาบันราชภัฎกำแพงเพชร โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
4. สถาบันราชภัฎอุดรธานี โปรแกรมวิชาธุรกิจการท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
5. สถาบันราชภัฎอุบลธราชธานี โปรแกรมวิชาธุรกิจการท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6. สถาบันราชภัฎลำปาง โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
7. สถาบันราชภัฎนครสวรรค์ โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
8. สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม (พิษณุโลก) โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
9. สถาบันราชภัฎมหาสารคาม โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
10. สถาบันราชภัฎนครราชสีมา โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
11. สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
12. สถาบันราชภัฎบุรีรัมย์ โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
13. สถาบันราชภัฎราชนครินทร์ (ฉะเชิงเทรา) โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
14. สถาบันราชภัฎเทพสตรี (ลพบุรี) คณะวิทยาการจัดการ
15. สถาบันราชภัฎพระนครศรีอยุธยา โปรแกรมวิชาธุรกิจการท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
16. สถาบันราชภัฎรำไพพรรณี (จันทบุรี) โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
17. สถาบันราชภัฎกาญจนบุรี โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
18. สถาบันราชภัฎนครปฐม โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
19. สถาบันราชภัฎภูเก็ต โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิชาการจัดการ
20. สถาบันราชภัฎสุราษฎร์ธานี โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
21. สถาบันราชภัฎจันทรเกษม โปรแกรมวิชาธุรกิจการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม / คณะวิทยาการจัดการ
22. สถาบันราชภัฎธนบุรี โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
23. สถาบันราชภัฎสวนดุสิต โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
24. สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา สาขาศิลปศาสตร์ โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
25. สถาบันราชภัฎเพชรบุรี โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
26. สถาบันราชภัฎเพชรบูรณ์ โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
27. สถาบันราชภัฎเลย โปรแกรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม / คณะวิทยาการจัดการ
28. สถาบันราชภัฎสกลนคร โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และ
29. สถาบันราชภัฎสงขลา สาขาการท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
30. สถาบันราชภัฎเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
31. สถาบันราชภัฎอุตรดิตถ์ โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
32. สถาบันราชภัฎพระนคร โปรแกรมวิชาภาษอังกฤษธุรกิจ / คณะมนุษยศาสตร์
33. สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โปรแกรมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว / คณะวิทยาการจัดการ
34. สถาบันราชภัฎสุรินทร์ โปรแกรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม / คณะวิทยาการจัดการ

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 8 แห่ง
1. วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ แผนกวิชาการท่องเที่ยว / คณะวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
2. วิทยาเขตบพิตรพิมุข จักรวรรดิ สาขาวิชาการท่องเที่ยว / คณะบริหารธุรกิจ
3. วิทยาเขตภาคพายัพ แผนกวิชาการท่องเที่ยว
4. วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา วาสุกรี สาขาวิชาการท่องเที่ยว
5. วิทยาเขตวังไกลกังวล แผนกวิชาการท่องเที่ยว
6. วิทยาเขตภาคใต้สงขลา แผนกวิชาการท่องเที่ยว / คณะวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
7. วิทยาเขตบพิตรพิมุข มหาเมฆ สาขาวิชาการท่องเที่ยว
8. วิทยาเขตพณิชยการพระนคร แผนกวิชาการโรงแรม

หลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรี 2 แห่ง
1. มหาวิทยาลัยมหิดล (วิทยาลัยนานาชาติ) สาขาบริหารธุรกิจ / คณะศิลปศาสตร์
2. มหาวิทยาลัยสยาม ภาควิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว / คณะศิลปศาสตร์

ระดับ ปวช. / ปวส. วิทยาลัยอาชีวศึกษา 19 แห่ง
1. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอี่ยมละออ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
2. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
3. วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
4. วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
5. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
6. วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
7. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
8. วิทยาลัยอาชีวศึกษากาญจนบุรี ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
9. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
10. วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
11. วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
12. วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎาร์ธานี ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
13. วิทยาลัยอาชีวศึกษาสงขลา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
14. วิทยาลัยอาชีวศึกษาอินทราชัย ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
15. วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
16. วิทยาลัยพาณิชยการบึงพระ (พิษณุโลก) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
17. วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวกรุงเทพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขา การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว และสาขาวิชาการโรงแรมและการบริการ
18. วิทยาลัยบริหารฑธุรกิจและ การท่องเที่ยวอุดรธานี ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขา การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว และ สาขาวิชาการโรงแรมและการบริการ
19. วิทยาลัยบริหารธุรกิจและ การท่องเที่ยวนครราชสีมา ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขา การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว และ สาขาวิชาการโรงแรมและการบริการ

วิทยาลัยพลศึกษา 9 แห่ง
1. วิทยาลัยพลศึกษากระบี่ โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
2. วิทยาลัยพลศึกษาชลบุรี โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
3. วิทยาลัยพลศึกษาลำปาง โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
4. วิทยาลัยพลศึกษาสุโขทัย โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
5. วิทยาลัยพลศึกษาเพชรบูรณ์ โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
6. วิทยาลัยพลศึกษามหาสารคาม โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
7. วิทยาลัยพลศึกษาอุดรธานี โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
8. วิทยาลัยพลศึกษายะลา โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม
9. วิทยาลัยพลศึกษาชุมพร โปรแกรมวิชาธุรกิจท่องเที่ยวและการโรงแรม

วิทยาลัยเทคนิค 9 แห่ง
1. วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
2. วิทยาลัยเทคนิคชุมพร ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
3. วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
4. วิทยาลัยเทคนิคตรัง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
5. วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
6. วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
7. วิทยาลัยเทคนิคสตูล ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
8. วิทยาลัยเทคนิคระยอง ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
9. วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

สถาบันการศึกษาเอกชน
1. โรงเรียนเทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาการโรงแรม
2. โรงเรียนภูเก็ตเทคโนโลยี ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาการโรงแรม

หลักสูตรระยะสั้น
1. โรงเรียนบริหารการโรงแรมนานาชาติ IHI หลักสูตรบริหารการโรงแรมนานาชาติ
2. โรงเรียนการจัดการโรงแรม

อาชีพในอนาคตของฉัน



ไม่ว่าเศรษฐกิจ การเมือง โรคระบาดจะสร้างวิกฤติให้กับประเทศไทยอย่างไร ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวก็ยังเป็นพระเอกที่พึ่งพาได้เสมอ
เพราะ ฉะนั้นตลาดแรงงานในสายงานธุรกิจอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จึงเป็นพื้นที่เปิดกว้างสำหรับแรงงานมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะผู้ที่มีความสามารถด้านภาษา จึงมีสถาบันต่างๆ เปิดทำการเรียนการสอนในศาสตร์ด้านนี้เพื่อสนองตอบตลาดแรงงาน หลายที่ด้วยกัน ปริญญาตรี ทางด้านการโรงแรมและการท่องเที่ยว (Bachelor of Arts Program in Tourism and Hotel) เป็นหนึ่งในสาขาที่ติดอันดับยอดนิยม และมีทีท่าสดใสยาวไกลไปไนอนาคต เพราะเมืองไทยเราได้ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองท่องเที่ยวระดับโลก การผลิตกำลังคนที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะในทางด้านการจัดการในธุรกิจโรงแรมและท่องเที่ยว จึงช่วยให้ประเทศเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวกับประเทศอื่นๆ ก่อให้เกิดการสร้างงานในประเทศ และยังเป็นการรักษามรดกทางการท่องเที่ยวไทยให้ยั่งยืนอีกด้วย การเรียนการสอนในสาขานี้ เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทั้ง โรงแรม ธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจขนส่ง ภัตตาคารร้านอาหาร หลักสูตรจะเน้นสร้างบุคลากรให้มีความรู้และทักษะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว สอนทั้งการบริหารจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ตลอดจนพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาเกาหลี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาจีนกลาง จนเกิดความชำนาญ ทั้งทักษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน
และเพื่อให้สามารถจบออกไปแล้วสามารถทำงานได้จริง จึงมีการสอนและสอบด้วยการปฏิบัติจริงควบคู่ไปกับการเรียนวิชาด้านบริหาร จัดการ ในการให้ประสบการณ์ภายนอกห้องเรียนให้แก่นักศึกษา จะเป็นการให้นักศึกษาได้ฝึกงานทั้งในและนอกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นในประเทศหรือ ต่างประเทศ เช่น จัดทัวร์ ดูแลห้องพัก จัดห้องจัดเลี้ยง ทำ coaktail จัดงานตามสถานที่ต่างๆ ตามสถานประกอบการจริง เช่น โรงแรม ห้องจัดเลี้ยง สปา ห้องอาหาร หรือบางสถาบันก็มีสถานที่ของตนเองที่เปิดขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนกาสอนไปด้วย ตัวอย่างการเรียนการสอนในหลักสูตรนี้มีที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สาขาอาหารและเครื่องดื่ม ที่จะเน้นในแผนกครัว การบริการในภัตตาคาร และการผสมเครื่องดื่ม หากเป็นสาขาการจัดการห้องพัก ก็จะเน้นการเรียนการสอนในงานบริการส่วนหน้า (Front Office) และงานแม่บ้าน

การเรียนวิชาต่างๆ ทั้งวิชาที่ต้องเรียนเป็นพื้นฐานในทุกสาขา หรือวิชาเอกและวิชาเลือกที่น่าสนใจของสาขานี้ ก็เช่น
การจัดการองค์การ (Organizational Management) เป็นการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี หลักการ เทคนิคการบริหารโครงการและเทคนิคการบริหารบุคคล ในองค์กร เพื่อให้เกิดการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป (General Economics) ศึกษาแนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เช่น บทบาทของรัฐบาล ทฤษฎีการผลิต พฤติกรรมผู้บริโภค อุปสงค์ อุปทาน ปัจจัยการผลิต การตลาด ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ตลอดจนสภาพและปัญหาทางเศรษฐกิจ

การบัญชีการเงินสำหรับธุรกิจท่องเที่ยว (Financial Accounting for Tourism) ให้ความรู้เกี่ยวกับงานทางบัญชี และความรับผิดชอบของนักบัญชี ทั้ง การบันทึกบัญชี การจัดทำงาบทดลอง การผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท การจัดทำงบทดลอง การปรับปรุงรายการ การทำงบกระแสเงินสด ฯลฯ

อุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Tourism Industry) ทราบถึงทรัพยากรการท่องเที่ยวนักท่องเที่ยว ลักษณะและองค์ประกอบของธุรกิจต่างๆ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

หลักการของมัคคุเทศก์ (Principles of the Tour Guide) กล่าวถึงหลักการมัคคุเทศก์ กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานและเทคนิคในการนำเที่ยว การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การฝึกปฏิบัติเป็นมัคคุเทศก์

พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (Tourist Behavior and Cross-cultural Communication) เข้าใจในวัฒนธรรม และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น วัตถุประสงค์ทางการเดินทางเพื่อท่องเที่ยว รสนิยม กระบวนการการตัดสินใจเพื่อเลือกสินค้าและบริการการท่องเที่ยว แนวโน้มพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในอนาคต ตลอดจนการรับมือกับปัญหาของนักท่องเที่ยวในสถานการณ์ต่างๆ

ศิลปะการต้อนรับและจิตวิทยาบริการ (Hospitality Arts and Psychology for Service Industry) เพื่อ ให้เข้าใจถึง พื้นฐานทางจิตวิทยาด้านแรงจูงใจ ลักษณะพฤติกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมของผู้รับบริการ และมีทักษะในการต้อนรับนักท่องเที่ยว เพื่อให้เป็นไปตามความคาดหวังของลูกค้าที่เข้ามารับบริการ

กลยุทธ์การตลาดการท่องเที่ยว (Tourism Marketing Strategy) ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ โครงสร้างและประเภทของธุรกิจ รวมทั้งปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่ออุตสาหกรรม

อุตสาหกรรมโรงแรมเบื้องต้น (Introduction to the Hotel Industry) กล่าวถึงประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของอุตสาหกรรมโรงแรม และแนวโน้มของธุรกิจอุตสาหกรรมโรงแรมในอนาคต

การจัดการธุรกิจเรือสำราญ (Cruising Management) ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ของเรือสำราญและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งงานบริการ การวางแผนการตลาด การจัดกิจกรรมนันทนาการบนเรือ การบริหารบุคลากร

มรดกไทยเพื่อการท่องเที่ยว (Thai Heritage for Tourism) สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและมรดกทางศิลปกรรมของไทย รวมถึงผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อมรดกไทย

กฎหมายและจริยธรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Law and Ethics Related to Tourism Industry) เพื่อให้ทราบถึงกฎหมาย ตลอดจนจริยธรรมที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ภาษาต่างประเทศต่าง ๆ เช่น
ภาษาฝรั่งเศส (French), ภาษาเยอรมัน (German), ภาษาสเปน (Spanish), ภาษาญี่ปุ่น (Japanese), ภาษาจีน (Chinese), ภาษาเวียดนาม (Basic Vietnamese), ภาษาเกาหลี (Korean), ภาษาลาว (Lao), ภาษาเขมร (Khmer)


อาชีพที่มีรองรับหลังจากเรียนจบ

พนักงานต้อนรับ

รายละเอียดผู้เยี่ยมชมทักทายในบุคคลและทางโทรศัพท์ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับบริการทางการแพทย์ผู้ป่วยตารางและ / หรือเก็บเงินสำหรับบริการทางการแพทย์ให้ . หน้าที่เฉพาะได้แก่

Schedules appointments ตารางนัดหมาย

Answers and returns telephone calls and messages
คำตอบและส่งกลับสายโทรศัพท์และข้อความ

Greets patients courteously
ผู้ป่วย greets สุภาพ

Works with the public, patients and co-workers in a cooperative and professional manner
ทำงานร่วมกับประชาชนผู้ป่วยและเพื่อนร่วมงานในลักษณะสหกรณ์และอาชีพ

Collects payments for services provided
เก็บเงินเพื่อให้บริการ

Performs assigned clerical duties
ดำเนินการมอบหมายหน้าที่ธุรการ

Qualifications: Qualifications :

One year of experience in a similar position - receptionist, customer service
หนึ่งปีของประสบการณ์ในตำแหน่งเดียวกัน -- ต้อนรับ, บริการลูกค้า

Computer experience
ประสบการณ์คอมพิวเตอร์


You have the Receptionist experience and skills. Now put it all together and get the edge in the job interview with the Complete Interview Guide . Answer questions naturally without sounding rehearsed and build confidence for the interview. คุณมีประสบการณ์และทักษะ Receptionist . นี้นำไปรวมกันและได้รับขอบในการสัมภาษณ์งานกับ Complete Interview Guide . ตอบคำถามตามธรรมชาติโดยไม่ออกเสียงฝึกซ้อมและสร้างความมั่นใจสำหรับการสัมภาษณ์

Learn how to practice right for the interview. เรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมสำหรับการสัมภาษณ์

Good or bad? I wish, I think, I feel.
ดีหรือไม่ดี? ฉันขอให้ฉันคิดว่าฉันรู้สึก

How can hand gestures improve your interview performance?
วิธีการท่าทางมือสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการสัมภาษณ์ของคุณ

Why are mock interviews important? Why isn't one mock interview enough?
ทำไมสัมภาษณ์เยาะเย้ยสำคัญหรือไม่ทำไมเป็นสัมภาษณ์จำลองเพียงพอหรือไม่

Why you shouldn't use limiting words such as "only" or "just"?
ทำไมคุณไม่ควรใช้คำ จำกัด เช่น"เท่านั้น"หรือ"เพียงแค่"?

Plus: Plus :

Answers to the toughest interview situations - follow-up letters, illegal questions, salary, job history questions and more!
คำตอบของสถานการณ์ที่ยากที่สุดสัมภาษณ์ -- ติดตามตัวอักษรคำถามผิดกฎหมายเงินเดือนคำถามประวัติงานและอื่น ๆ

How to answer and how not to answer วิธีการตอบและวิธีการที่ไม่ตอบ

Questions to ask the interviewers
คำถามที่จะขอสัมภาษณ์

What should you do the day of the interview?
สิ่งที่คุณควรทำวันสัมภาษณ์หรือไม่

Identify possible interview questions
ระบุคำถามสัมภาษณ์ได้




Search for current trends and subject areas for your Receptionist interview: ค้นหาแนวโน้มและสาขาวิชาให้สัมภาษณ์พนักงานต้อนรับของคุณ :

Customer Service
บริการลูกค้า

Telephone Etiquette
มารยาทโทรศัพท์


Interview Receptionist Practice

Tell us about yourself.
บอกเราเกี่ยวกับตัวเอง


Focus on the aspects of your experience that apply to this position.
เน้นในส่วนของประสบการณ์ของคุณที่ใช้กับตำแหน่งนี้
Why do you want this job?
งานนี้ทำไมคุณต้องการได้หรือไม่

Tell us about your clerical experience.
บอกเราเกี่ยวกับการธุรการของคุณ


Tell us about your experience with the computer.
บอกเราเกี่ยวกับประสบการณ์ของคุณกับคอมพิวเตอร์

What are your duties in your current position?
สิ่งที่เป็นหน้าที่ของคุณในตำแหน่งปัจจุบันของคุณ

What would your current or previous manager say that you could improve in?
สิ่งที่จะจัดการหรือปัจจุบันของคุณก่อนว่าคุณสามารถพัฒนาได้อย่างไร

How did you ensure that you meet deadlines?
กำหนดเวลาได้อย่างไรคุณมั่นใจว่าคุณจะพบ?

You will be required to interact with patients. Tell us about your previous experience with patients and how did you deal with the experience.
คุณจะต้องติดต่อกับผู้ป่วย . บอกเราเกี่ยวกับประสบการณ์ของคุณกับผู้ป่วยและวิธีการจัดการกับคุณได้สัมผัส

Assume that you've been hired for the position. A mother calls and says her child is sick and she needs an appointment this morning. You don't have an open appointment for the morning. What will you do?
สมมติ ว่าคุณได้รับการว่าจ้างตำแหน่ง . แม่โทรและ says เด็กเธอป่วยและเธอต้องการนัดหมายช่วงเช้าวันนี้ . คุณไม่ได้นัดหมายเปิดเช้า . คุณจะทำอะไร?

Tell us about a situation in which you took the extra step for a patient.
บอกเราเกี่ยวกับผู้ป่วยสถานการณ์ที่คุณเอาขั้นตอนพิเศษสำหรับ

Why should we hire you?
ทำไมเราควรจ้างคุณ

Is there anything else that we should know about you?
คุณมีสิ่งอื่นที่เราควรรู้?

Summarize by emphasize your qualifications as they apply to this job. สรุปโดยเน้นคุณสมบัติที่พวกเขาใช้กับงานนี้ Also cover anything you missed from your opening. ยังครอบคลุมถึงสิ่งที่คุณพลาดจากการเปิดของคุณ



วันอังคารที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแห่งแรกในส่วนภูมิภาคของประเทศไทย โดยใช้ชื่อตามจังหวัดเป็นแห่งแรก เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาคเหนือ ตั้งอยู่ที่ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2507 พร้อมกับมหาวิทยาลัย โดยเป็นหนึ่งในสามคณะแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่นเดียวกับคณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์

ประวัติ

ก่อตั้งครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2507 พร้อมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะอีกสองคณะ คือคณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ เปิดสอนปีแรกมีอาจารย์ 20 คน อาจารย์พิเศษ 2 คน นักศึกษา 77 คน เจ้าหน้าที่ 3 คน เปิดทำการสอน 282 กระบวนวิชา โดยเปิดสอน 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาภาษาไทย ประวัติศาสตร์ ภาษาปัจจุบันต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส) และภาควิชามนุษยสัมพันธ์ คณบดีของคณะท่านแรกคือ ศาสตราจารย์ ดร . หม่อมหลวงตุ้ย ชุมสาย

ภาควิชา

1.ภาควิชามนุษยศาสตร์
1.สาขาวิชาจิตวิทยา
2.สาขาวิชาประวัติศาสตร์
3.สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์
4.สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา
5.สาขาวิชาบ้านและชุมชน
6.สาขาวิชาการท่องเที่ยว
7.กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป
2.ภาควิชาภาษาตะวันตก
1.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
2.สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส
3.สาขาวิชาภาษาเยอรมัน
4.สาขาวิชาภาษาสเปน
3.ภาควิชาภาษาตะวันออก
1.สาขาวิชาภาษาไทย
2.สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
3.สาขาวิชาภาษาจีน
4.สาขาวิชาภาษาพม่า
5.สาขาวิชาภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี
[แก้] วิชาเอก
คณะมนุษศาสตร์เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อแบ่งตามสาขาวิชาเอก โดยแบ่งเป็น 15 สาขาวิชา ได้แก่

1.จิตวิทยา
2.ประวัติศาสตร์
3.บรรณารักษศาสตร์
4.ปรัชญาและศาสนา
5.บ้านและชุมชน
6.การท่องเที่ยวและการโรงแรม
7.ภาษาอังกฤษ
8.ภาษาฝรั่งเศส
9.ภาษาเยอรมัน
10.ภาษาสเปน
11.ภาษาไทย
12.ภาษาญี่ปุ่น
13.ภาษาจีน
14.ภาษาพม่า
15.ภาษาบาลี-สันสกฤต-ฮินดี



และอีก 1 กลุ่มวิชา คือ

1.กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป